ข้อ 3  ก) ข้อดี ข้อด้อย ของเส้นนำสัญญาณ (Media)  สายทองแดง และสายไฟเบอร์ออฟติก

เส้นนำ สัญญาณ ระบบ สื่อ สาร มี ความ จำ เป็น มาก ขึ้น โดย เฉพาะ ระบบ การ เชื่อม โยง เครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ และ มี แนวโน้มที่ จะ รวม ระบบ สื่อ สาร อย่าง อื่น ประกอบ เข้า มา ใน ระบบ ด้วย เช่น ระบบเคเบิล ที วี ระบบ โทรศัพท์ ระบบ การ บริการ ข้อ มูล ข่าว สาร เฉพาะ ของ บริษัท ผู้ ให้บริการ ต่าง ๆ เส้นนำสัญญาณ (Media) เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งที่ใช้เป็นทางเดินของข้อมูลมีลักษณะคล้ายๆ สายไฟ หรือสายโทรศัพท์ในการเลือกใช้ควรคำนึงถึงความปลอดภัย และคลื่นรบกวนเป็นสำคัญ เส้นนำสัญญาณ มีแบบสายทองแดงและสายไฟเบอร์ออฟติก โดยจะแยกข้อดี และข้อด้อยดังนี้

 

สายทองแดง  - สายคู่บิดเกลียว (Twisted pair Cable)

         เป็นสายส่งสัญญาณที่ประกอบไปด้วยสายทองแดง 2 เส้นขึ้นไปบิดกันเป็นเกลียว (Twist) และหุ้มด้วยฉนวน แต่ละคู่สายทองแดงจะถูกพันกันตามมาตรฐานเพื่อลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิลเดียวกันหรือจากภายนอก เนื่องจากสายบิดเกลียวนี้ยอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผ่านได้ถึง 10 Hz เช่น สายคู่บิดเกลียว 1 คู่ จะสามารถส่งสัญญาณเสียงได้ถึง 12 ช่องทางสำหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับความหนาของสายด้วย กล่าวคือ สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้างจะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากำลังแรงได้ ทำให้สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่วนสูง ตัวอย่างเช่น สายโทรศัพท์ สายแบบนี้มี 2 ชนิด คือ 

1. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน shield  Twisted Pair  :STP เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้น เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

2. สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน  Unshielded Twisted Pair : UTP เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้น ทำให้สะดวกในการโค้งงอ  แต่สามารถป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก

 นอกจากนี้สาย Twisted Pair ยังถูกจัดแบ่งออกเป็นระดับต่างๆ 5 ระดับ ตามคุณภาพคือ Type 1, 2, 3, 4 และ 5

Level 1      สำหรับการสื่อสารแบบเสียง (Voice)

Level 2      ใช้ได้ทั้งการสื่อสารแบบเสียงและข้อมูล ชนิดนี้ไม่นำมาใช้ใน Network

Level 3      ใช้ได้เช่นเดียวกับ Level 2 ความเร็ว 16 MHz.  อัตราการส่งข้อมูลคือ 

                   10 เมกะบิต/วินาที มักใช้กับระบบ 10 BASET

Level 4      สำหรับระบบ 4 Mbps Toden Ring และ 10 BASE-T ขนาดใหญ่ความเร็ว 20MHz.

                   อัตราส่งข้อมูลคือ 16 เมกะบิต/วินาที

Level  5    ใช้สำหรับ Network ที่ต้องการความเร็วสูง ซึ่งความเร็วที่วัดได้มีค่าสูงถึง 100MHz.

                   อัตราการส่งข้อมูลคือ 100 เมกะบิต/วินาที

ปัจจุบัน จะใช้แบบ Level 5  เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากราคาถูก และสามารถใช้ได้ทั้งความเร็วแบบ 10 Mbps และ 100 Mbps

 

ข้อดี

- ราคาถูก แต่ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่เป็นค่าแรงในการเดินสายมากกว่าค่าวัสดุ 

- ใช้งานง่าย

- ติดตั้งง่ายและมีน้ำหนักเบา

- สามารถทำงานที่ความเร็วสูงถึง 100 MBITS ต่อวินาที

ข้อเสีย

- มีอัตราการส่งข้อมูลต่ำ มีความกว้างแถบสัญญาณ (bandwidth) แคบ

  ทำให้ไม่เหมาะที่จะส่งข้อมูลโดยใช้เทคนิคการส่งข้อมูล ( transmission techniques)

  แบบแอนะล็อก เรียกว่า บรอดแบนด์

- มีระยะทางการส่งข้อมูลสั้นกว่าสายไฟเบอร์ออฟติก

- ปัญหาที่สำคัญของสายสัญญาณแบบสายทองแดงคือ การเหนี่ยวนำโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

  ซึ่งเป็นปัญหาเกี่ยวกับการรบกวนระหว่างตัวนำ ทำให้คลื่นสะท้อนกลับเกิดการรบกวนจาก

  ปัจจัยภายนอกเรียกว่า EMI ทำให้ผู้ใช้ต้องหมั่นดูแล

 

สายไฟเบอร์ออฟติก Fiber Optic Cable หรือ Cable ใยแก้วนำแสง

 

ประกอบด้วยท่อใยแก้วที่มีขนาดเล็กและบางมากเรียกว่า "CORE" ล้อมรอบด้วยชั้นของใยแก้วที่เรียกว่า "CLADDING" อัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงถึง 565 เมกะบิตต่อวินาที หรือมากกว่า  ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีมาก ขนาดของสายเล็กมากและเบามาก สายส่งข้อมูลแบบนี้จะมีความเร็วในการส่งถึง 1 กิกะบิตต่อวินาที (Gbps) หรือมากกว่า

สายส่งข้อมูลแบบนี้ประกอบด้วย เส้นใย (fiber) ที่ทำมาจากใยแก้ว 2 ชนิด ชนิดหนึ่งอยู่ที่แกนกลาง ส่วนอีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก ซึ่งใยแก้วทั้งสองนี้จะมีดัชนีการสะท้อนแสงต่างกัน ทำให้แสงซึ่งถูกส่งออกมาจากปลายด้านหนึ่งสามารถส่งผ่านไปยังอีกด้านหนึ่งโดยที่ไม่ผ่านออกไปยังพื้นผิวด้านนอกของเส้นใยได้ เส้นใยนี้จะมีตัวป้องกันด้านนอกอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการเสียหายภายใน ข้อมูลที่ส่งผ่านเป็นสัญญาณแสง  

แหล่งกำเนิดแสงที่ใช้เป็นได้ทั้งแบบไดโอดปล่อยแสง light emited diodes : LEDs  หรือแบบไดโอดเลเซอร์ laser diodes : LDs  ข้อมูลที่ส่งจะถูกเข้ารหัส (modulate) เป็นสัญญาณแสงโดยใช้วิธีการเข้ารหัสแบบความถี่ ซึ่งแสงที่ส่งออกไปจะมีทรานซิสเตอร์ชนิดที่เรียกว่า pin field eddect transistor (pin FET) รับช่วงต่อและจะถูกถอดรหัส (demodulate) ให้กลับมาเป็นข้อมูลเพื่อใช้งานต่อช่วงสัญญาณของสื่อจะสูงได้ถึง 5 กิกะเฮิรตช์ (GHz) แต่เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันสามารถใช้ช่วงสัญญาณในช่วง 100 ถึง 400 เมกะเฮิรตช์ (MHz) ซึ่งจำกัดด้วยอัตราการเข้ารหัสสูงสุดของแสงต้นทาง การเข้ารหัสของ LEDs จะอยู่ระหว่าง 20 ถึง 150 เมกะบิตต่อวินาที ถ้าใช้ LDs จะได้อัตราการเข้ารหัสที่สูงกว่านี้

 

ใน ปัจจุบัน ได้ มี การ พัฒนา เส้น ใย แก้ว นำ แสง ที่ ทำ มา จาก พลาสติก เพื่อ งาน บาง อย่าง ที่ ไม่ คำนึง ถึง การ สูญ เสีย สัญญาณ มาก นัก เช่น การ สื่อ สาร ใน ระยะ ทางสั้น ๆ ไม่ กี่ เมตร

        คุณสมบัติ ของ เส้น ใย แก้ว นำ แสง แบ่ง แยก ได้ ตาม ลักษณะ คุณสมบัติ ของ ตัว นำ แสง ที่ มี ลักษณะ การ ให้ แสง ส่อง ทะลุ ใน ลักษณะ อย่าง ไร คุณสมบัติ ของเนื้แก้ว นี้ จะ กระจาย แสง ออก ซึ่ง ใน กรณี นี้ การ สะท้อน ของ แสง กลับ ต้อง เกิด ขึ้น โดย ผนัง แก้ว ด้าน ข้าง ต้อง มี ดัชนี หัก เห ของ แสง ที่ ทำ ให้ แสง สะท้อน กลับ เพื่อ ลด การ สูญ เสีย ของ พลัง งาน แสง วิธี การ นี้ เรา แบ่ง แยก ออก เป็น สอง แบบ คือ แบบ ซิงเกิลโหมด และมัลติ โหมด

          ซิงเกิลโหมด เป็น การ ใช้ ตัว นำ แสง ที่ บีบ ลำ แสง ให้ พุ่ง ตรง ไป ตาม ท่อ แก้ว โดย มี การ กระจาย แสง ออก ทางด้าน ข้าง น้อย ที่ สุด ซิงเกิลโหมด จึง เป็น เส้น ใย แก้ว นำ แสง ที่ มี กำลัง สูญ เสีย ทางแสง น้อย ที่ สุด เหมาะ สำหรับ ใน การ ใช้กับระยะ ทางไกล ๆ การ เดิน สาย ใย แก้ว นำ แสงกับระยะ ทางไกล มาก เช่น เดิน ทางระหว่าง ประเทศ ระหว่าง เมือง มัก ใช้ แบบ ซิงเกิลโหมด 

          มัลติ โหมด   เป็น เส้น ใย แก้ว นำ แสง ที่ มี ลักษณะ การ กระจาย แสง ออก ด้าน ข้าง ได้ ดัง นั้น จึง ต้อง สร้าง ให้ มี ดัชนี หัก เห ของ แสงกับอุปกรณ์ ฉาบ ผิว ที่ สัมผัสกับเคล็ดดิงให้ สะท้อน กลับ หมด หาก การ ให้ ดัชนี หัก เก ของ แสง มี ลักษณะ ทำ ให้ แสง เลี้ยว เบน ที ละ น้อย เรา เรียก ว่า แบบ เก รดอิน เด็กซ ์ หาก ให้ แสง สะท้อนดยไม่ ปรับ คุณสมบัติ ของ แท่ง แก้ว ให้ แสง ค่อย เลี้ยว เบน ก็ เรียก ว่า แบบ สเต็ปอินเด็กซ์  เส้น ใย แก้ว นำ แสง ที่ ใช้ ใน เครือ ข่าย แล น ส่วน ใหญ่ ใช้ แบบมัลติ โหมด โดย เป็น ขนาด 62.5/125 ไมโคร เมตร หมาย ถึง เส้น ผ่า ศูนย์ กลาง ของ ท่อ แก้ว 62.5 ไมโคร เมตร และ ของ แคล็ดดิงรวม ท่อ แก้ว 125 ไมโคร เมตร   คุณสมบัติ ของเสัน ใย แก้ว นำ แสง แบบสแต็ปอินเด็กซ์มี การ สูญ เสีย สูง กว่า แบบ เก รดอินเด็กซ์

 

 

ข้อดี

- ความ สามารถ ใน การ รับ ส่ง ข้อ มูล ข่าว สาร  เส้น ใย แก้ว นำ แสง ที่ เป็น แท่ง แก้ว ขน เหล็ก มี การ โค้ง งอ ได้ ขนาด เส้น ผ่า ศูนย์ กลาง ที่ ใช้ กัน มาก คือ 62.5/125 ไมโคร เมตร  เส้น ใย แก้ว นำ แสง ขนาด นี้ เป็น สาย ที่ นำ มา ใช้ ภาย ใน อาคาร ทั่ว ไป เมื่อ ใช้กับคลื่น แสง ความ ยาว คลื่น 850 นา โน เมตร จะ ส่ง สัญญาณ ได้ มาก กว่า 160 เมกะเฮิรตซ์ ที่ ความ ยาว 1 กิโลเมตร แล้ว ถ้า ใช้ ความ ยาว คลื่น 1300 นา โน เมตร จะ ส่ง สัญญาณ ได้ กว่า 500 นา โน เมตร ที่ ความ ยาว 1 กิโลเมตร และ ถ้า ลด ความ ยาว เหลือ 100 เมตร จะ ใช้กับความ ถี่ สัญญาณ มาก กว่า 1 กิกะ เฮิรตซ์ ดัง นั้น จึง ดี กว่า สายยู ที พี แบบ แค ต 5 ที่ ใช้กับสัญญาณ ได้ 100 เมกะเฮิรตซ์  

- กำลัง สูญ เสีย ต่ำ เส้น ใย แก้ว นำ แสง มี คุณสมบัติ ใน เชิง การ ให้ แสง วิ่ง ผ่าน ได้   การ บั่น ทอน แสง มี ค่า ค่อน ค่าง ต่ำ ตาม มาตร ฐาน ของ เส้น ใย แก้ว นำ แสง การ ใช้ เส้น สัญญาณ นำ แสง นี้ ใช้ ได้ ยาว ถึง 2000 เมตร หาก ระยะ ทางเกิน กว่า 2000 เมตร   ต้อง ใช้ รี พีตเตอร์ทุก ๆ 2000 เมตร การ สูญ เสีย ใน เรื่อง สัญญาณ จึง ต่ำ กว่า สาย ตัว นำ ทอง แดง มาก ที่ สาย ตัว นำ ทอง แดง มี ข้อ กำหนด ระยะ ทางเพียง 100 เมตร หาก พิจารณา ใน แง่ ความ ถี่ ที่ ใช้ ผล ตอบ สนอง ทางความถึ่มี ผล ต่อ กำลัง สูญ เสีย โดย เฉพาะ ใน ลวด ตัว นำ ทอง แดง เมื่อ ใช้ เป็น สาย สัญญาณ คุณสมบัติ ของ สาย ตัว นำ ทอง แดง จะ เปลี่ยน แปลง เมื่อ ใช้ ความ ถี่ ต่าง กัน  โดย เฉพาะ เมื่อ ใช้ ความถึ่ของ สัญญาณ ที่ ส่ง ใน ตัว นำ ทอง แดง สูง ขึ้น อัตรา การ สูญ เสีย ก็ จะ มาก ตาม แต่ กรณี ของ เส้น ใย แก้ว นำ แสง เรา ใช้ สัญญาณ ความ ถี่ มอ ดู เลต ไปก ับแสง การ เปลี่ยน สัญญาณ รับ ส่ง ข้อ มูล จึง ไม่ มี ผลกับกำลัง สูญ เสีย ทางแสง  

- คลื่น แม่ เหล็ก ไฟ ฟ้า ไม่ สามารถ รบ กวน ได้  ปัญหา ที่ สำคัญ ของ สาย สัญญา แบบ ทอง แดง คือ การ เหนี่ยว นำ โดย คลื่น แม่ เหล็ก ไฟ ฟ้า ปัญหา นี้ มี มาก ตั้ง แต่ เรื่อง การ รบ กวน ระหว่าง ตัว นำ หรือ เรียก ว่าครอสทอร์ค กา รำม่แมตซ์พอ ดี ทางอิมพี แดนซ ์ ทำ ให้ มี คลื่น สะท้อน กลับ การ รบ กวน   จาก ปัจจัย ภาย นอก ที่ เรียก ว่า EMI ปัญหเหล่า นี้ สร้าง ให้ ผู้ ใช้ ต้อง หมั่น ดู แล   แต่ สำหรับ เส้น ใย แก้ว นำ แสง แล้ว ปัญหา เรื่อง เหล่า นี้ จะ ไม่ มี เพราะ แสง เป็น พลัง งาน ที่ มี พลัง งาน เฉพาะ และ ไม่ ถูก รบ กวน ของ แสง จาก ภาย นอก

มีภูมิคุ้มกันต่อสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เหมาะสำหรับสภาพแวดล้อม เช่น โรงพยาบาล โรงงานผลิต สถานีโทรทัศน์ ซึ่งสายส่งข้อมูลแบบทองแดงจะถูกรบกวนด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสูง

มีการสูญเสียสัญญาณต่ำ ทำให้ส่งข้อมูลได้ระยะไกลกว่าสายคู่บิดเกลียวและสายแบบโคแอกเชียลโดยไม่ต้องมีตัวขยายสัญญาณ

- น้ำ หนัก เบา  เส้น ใย แก้ว นำ แสง มี น้ำ หนัก เบา กว่า เส้น ลวด ตัว นำ ทอง แดง น้ำ หนัก ของ เส้น ใย แก้ว นำ แสง ขนาด 2 แกน ที่ ใช้ ทั่ว ไป มี น้ำ หนัก เพียง ประมาณ 20 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ของ สายยู ที พี แบบ แคต 5

- ขนาด เล็ก   เส้น ใย แก้ว นำ แสง มี ขนาด ทางภาค ตัด ขวาง แล้ว เล็ก กว่า ลวด ทอง แดง มาก ขนาด ของ เส้น ใย แก้ว นำ แสง เมื่อ รวม วัสดุ หุ้ม แล้ว มี ขนาด เล็ก กว่า สาย ยู ที พี โดย ขนาด ของ สาย ใย แก้ว นี้ ใช้ พื้น ที่ ประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ ของ เส้น ลวดยูที พี แบบ แคต 5  เส้นใยนำแสงสายเดียวสามารถใช้แทนสายโทรศัพท์ขนาด 300 คู่ได้

- มี ความ ปลอด ภัย ใน เรื่อง ข้อ มูล สูง กว่า การ ใช้ เส้น ใย แก้ว นำ แสง มี ลักษณะ ใช้ แสง เดิน ทางใน ข่าย จึง ยาก ที่ จะ ทำ การแท๊ปหรือ ทำ การ ตัด ฟัง ข้อ มูล

- มี ความ ปลอด ภัย ต่อ ชีวิต และ ทรัพย์ สิน การ ที่ เส้น ใย แก้ว เป็น ฉนวน ทั้ง หมด จึง ไม่ นำ กระแส ไฟ ฟ้า การ ลัด วง จร การ เกิด อันตราย จาก กระแส ไฟ ฟ้า จึง ไม่ เกิด ขึ้น  

- มีความแข็งแรงและทนทานสูง  เส้น ใย แก้ว มี การ ออก แบบ ใย แก้ว มี เส้น ใย ห้อม ล้อม ไว้ ทำ ให้ ทน แรง กระแทก นอก จาก นี้ แรง ดึง ใน เส้น ใย แก้ว ยัง มี ความ ทน ทาน สูง กว่า สายยูทีพี หาก เปรียบ เทียบ เส้น ใย แก้วกับสายยู ที พี แล้วจะพบว่า ข้อ กำหนดของสาย ยู ที พี คุณสมบัติหลายอย่างต่ำกว่าเส้นใยแก้ว เช่น การดึงสาย  การหักเลี้ยว เพราะ ลักษณะ คุณสมบัติทางไฟฟ้าที่ ความถี่สูงเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า

- ไม่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้า เพราะใช้แสงในการส่งข้อมูล ทำให้สายส่งข้อมูลแบบนี้อาจนำไปใช้ในสภาพแวดล้อมที่ใช้สายแบบอื่นไม่ได้ เช่น โรงกลั่นน้ำมันที่ไม่สามารถใช้สายส่งข้อมูลแบบทองแดงได้

- ไม่สามารถดักสัญญาณได้ การจับสัญญาณจะต้องตัดสายออกและต่อเข้ากับตัวรับสัญญาณเท่านั้น ซึ่งจะมีประโยชน์สูงในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

ข้อเสีย

 - ราคาอุปกรณ์และค่าติดตั้งสูงกว่าเส้นนำสัญญาณสายทองแดง

- การ ติด ตั้ง เส้น ใย แก้ว นำ แสง ต้องใช้ความชำนาญในการติดตั้งมากกว่าเส้นนำสัญญาณแบบอื่นๆ

- มีค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูงกว่าเส้นนำสัญญาณแบบอื่นๆ

- สามารถส่งข้อมูลได้ทางเดียว ทำให้การติดต่อสื่อสารระหว่างกันต้องใช้เส้นนำสัญญาณส่งข้อมูล 2 เส้น 

- เส้น ใย แก้ว นำ แสง ยัง ไม่ สามารถ ใช้กับเครื่องที่ ตั้ง โต๊ะ ได้ปัจจุบัน พี ซี ที่ ใช้ ส่วน ใหญ่ ต่อกับแลน แบบ อีเทอร์เน็ ต ซึ่ง ได้ ความ เร็ว 10 เมกะ บิต การ เชื่อม ต่อกับแลน มี หลาย มาตร ฐาน โดย เฉพาะ ปัจจุบัน หาก ใช้ ความ เร็ว เกิน กว่า 100 เมกะ บิต สายยู ที พี รอง รับ ไม่ ได้ เช่น เอ ที เอ็ม 155 เมกะ บิต แนวโน้มของ การ ใช้ งาน ระบบ เครือ ข่าย มี ทางที่ ต้อง ใช้ แถบ กว้าง สูง ขึ้น มาก โดย เฉพาะ เมื่อ ต้อง การ ให้ พี ซี เป็นมัลติมีเดียเพื่อ แสดง ผล เป็น ภาพวิดี โอ การ ใช้ เส้น ใย แก้ว นำ แสง ดู จะ เป็น ทา งอ อก พัฒนาการ ของ การ์ด ก็ ได้ พัฒนา ไป มาก เอ ทีเอ็มการ์ด ใช้ ความ เร็ว 155 เมกะ บิต ย่อม ต้อง ใช้ เส้น ใย แก้ว นำ แสง รอง รับ การ ใช้ เส้น ใย แก้วนำ แสง ยัง สามารถ ใช้ ใน การ ส่ง รับวิดี โอ คอนเฟอเรนซ์ หรือ สัญญาณ ประกอบ อื่น ๆ ได้ ดี  

ข)   การสื่อสารแบบมัลติมีเดีย (Multimedia) ควรจะใช้สายนำสัญญาณแบบสายไฟเบอร์ออฟติก  เนื่องจากเป็นการส่งข้อมูลด้วยแสง จึงมีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงกว่าเส้นนำสัญญาณแบบทองแดง 10 ถึง 100 เท่า ถึง แม้ ว่า เทคโนโลยี ใน ปัจจุบัน มี การ ใช้ งาน สายยู ที พี อย่าง แพร่ หลาย และ ได้ ประ โยชน์ มหาศาล แต่ จาก การ พัฒนา เทคโนโลยี ที่ ต้อง การ ให้ ถนน ของ ข้อ มูล ข่าว สาร เป็น ถนน ขนาด ใหญ่ ที่ เรียกว่า ซูเปอร์ไฮเวย ์ การ รอง รับ ข้อ มูล จำนวน มาก และ การ ประยุกต์ ใน รูป แบบมัลติ มีเดียที่ กำลัง จะ เกิด ขึ้น ย่อมต้องทำ ให้ สภาพ การ ใช้ ข้อ มูล ข่าว สาร ต้อง พัฒนา ให้ รอง รับกับจำนวน ปริมาณ ข้อ มูล ที่ จะ มี มาก ขึ้น จึง เชื่อ แน่ ว่า เส้น ใย แก้ว นำ แสง จะ เป็น สาย สัญญาณ ที่ ก้าว เข้า มา ใน ยุค ต่อ ไป และ จะ มี บท บาท เพิ่ม สูง ขึ้น ซึ่ง เมื่อ ถึง เวลา นั้น แล้ว เรา คง จะ ได้ เห็น อาคาร บ้าน เรือน สำนัก งาน หรือ โรง งาน มี เส้น ใย แก้ว นำ แสง เดิน กระจาย กัน ทั่ว เหมือนกับที่ เห็น สาย ไฟ ฟ้า กำลัง อยู่ ใน ขณะ นี้ และ หวังว่าเห ตุการณ์เหล่า นี้ คง จะ เกิด ขึ้นในอีกไม่ นาน นัก  


ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ LAN และการใช้งาน Novell Net Ware  อัครเสน สมุทรผ่อง และจักร พิชัยศรทัต

สร้างและพัฒนาระบบ LAN โดย : กิตติ ภักดีวัฒนะกุล

นิตยสาร เทคโนโลยีสื่อสาร ปีที่ 2 ฉบับที่ 13 ปี 2540 ดร.รัชภาคย์ จิตต์อารี และ ผศ.ดร.ปรีชา ยุพาพิน

http://www.wutt.com